ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 เป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 12 ได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 ภายหลังจากการปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลนาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร โดย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ หัวหน้า คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 เป็นผลสำเร็จซึ่งหลังจากนั้นอีก 2 วันคือวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เลขาธิการ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน และ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้รับการแต่งตั้งเป็น นายกรัฐมนตรีธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติไว้ทั้งสิ้น 32 มาตราและได้นำรัฐธรรมนูญมาตรา 17 สมัยจอมพลสฤษดิ์กลับมาใช้ลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์การเมืองไทย พ.ศ. 2475–2516
แถวแรก: = รัฐประหาร (คลิกเพื่อดูบทความ); แถวสอง: รายชื่อนายกรัฐมนตรี; แถวสาม: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่)ลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์การเมืองไทย พ.ศ. 2516–2544
แถวแรก: = รัฐประหาร (คลิกเพื่อดูบทความ); แถวสอง: รายชื่อนายกรัฐมนตรี; แถวสาม: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่)ลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์การเมืองไทย พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน
แถวแรก: = รัฐประหาร (คลิกเพื่อดูบทความ), การเลือกตั้งทั่วไป (คลิกเพื่อดูบทความ); แถวสอง: รายชื่อนายกรัฐมนตรี; แถวสาม: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่)

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520

วันลงนาม 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
วันประกาศ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๙๔/ตอนที่ ๑๑๑/หน้า ๑/๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๐)
ผู้ลงนาม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ท้องที่ใช้ ราชอาณาจักรไทย
ผู้ลงนามรับรอง พลเรือเอก สงัด ชลออยู่
(หัวหน้าคณะปฏิวัติ)
วันลงนามรับรอง 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520

ใกล้เคียง